จิปาถะ : สำหรับลูก

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3
เขียนโดย soraya
08 ธันวาคม 2017
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3   การติดตามภาวะโภชนาการ (ว่าผอม หรือ อ้วน ไปมั้ย) และการเจริญเติบโตของลูก (สูง หรือ เตี้ย) ต้องมีการชั่งน้ำหนัก และวัดความยาว/ส่วนสูง อย่างสม่ำเสมอ ทุก 1-3 เดือน ในเด็กเล็ก ต่ำกว่า 2 ปี ใช้วิธีนอน วัดความยาว ถ้า 2-5 ปี ใช้วิธียืน วัดส่วนสูง ถ้าเด็กเล็กอยากยืนวัด ก็ให้ยืนได้ กรณีกลับกัน เด็กโตกว่า 2 ปี ไม่อยากยืน ก็นอนวัดได้ แต่ในการจุดกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโต ต้องมีการหักลบ โดยถ้าเป็นเด็กเล็ก ยืนวัด ค่าที่ได้จะน้อยลง ต้องนำค่าที่ได้ บวกเพิ่มอีก 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดในกราฟ ส่วนเด็กโตที่นอนวัด จะได้ค่ามากขึ้น ต้องนำค่าที่ได้ลบด้วย 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดประเมินผลในกราฟ เพื่อทราบว่า ลูกมีโภชนาการดีหรือไม่ อ้วนหรือผอมไปหรือเปล่า ต้องใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง โดยแถบสีเขียว คือ ปกติ แต่มีโซนเสี่ยง เป็นสีเขียวแก่ และเขียวอ่อน เพื่อเดือนให้คุณพ่อคุณแม่เร่งจัดการแก้ไขก่อนจะผิดปกติ ส่วนถ้าอยากทราบว่าลูกมีการเจริญเติบโตดีหรือไม่ ให้ใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง จะทราบว่า ลูกเตี้ยหรือสูง เรามีความคาดหวังให้ลูกๆมีทั้งภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตที่ดี ซึ่งประเมินจากกราฟทั้ง 2แบบ ให้เป็นเด็กที่ทั้งสูงและสมส่วน ไม่ใช่เตี้ยสมส่วน หรือ อ้วนไป ผอมไป ปล. คำว่า ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม เป็นโซนเสี่ยง แต่คำว่าเริ่มอ้วน เป็นความผิดปกติแล้ว ต้องรีบแก้ไขด่วนๆ ดูง่ายๆที่สีในกราฟ ถ้าเป็นสีเขียวยังปกติ สีส้ม สีม่วงผิดปกติ สามารถดาวน์โหลดกราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็ก 0-5ปี ซึ่งปรับจาก WHO Growth Standard 2006เริ่มใช้ในประเทศไทยเมื่อปี2558 ได้ที่ http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=1&id=717                   
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2
เขียนโดย soraya
08 ธันวาคม 2017
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2 อาหารทารกตามวัย คือหัวใจของทักษะชีวิตและการเจริญเติบโต โดย พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อาหารตามวัยเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มของชีวิต ในการรับประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้เรียนรู้จากการกินอาหาร หลังจากทารกได้กินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกแล้ว ควรให้อาหารตามวัยที่เหมาะสม ควบคู่กับนมแม่ เหตุผลเพราะหลัง 6 เดือน ทารกต้องการพลังงานมากขึ้น (ซึ่งควรเป็นจากอาหารที่เตรียมจากข้าวบด ใส่ไข่ ตับ ปลา หมู ไก่ ผัก สลับหมุนเวียนกันไป) ไม่ใช่เพราะนมแม่หมดคุณค่า หรือ ไม่มีประโยชน์แล้ว นมแม่มีประโยชน์ เพื่อการเติบโตสมวัย ให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนแรก เมื่อครบ 6 เดือน เริ่มให้อาหารตามวัยควบคู่กับนมแม่ อย่างไรก็ตาม ถ้าแพทย์ประจำตัวของลูก ซึ่งดูแลลูกเป็นระยะมาตลอด พบว่า ในช่วง 4-6 เดือน ที่ลูกกินนมแม่อย่างเดียว แต่มีปัญหาน้ำหนักขึ้นน้อยลง และไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะมีความช่วยเหลือด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเต็มที่แล้ว แพทย์อาจจะพิจารณาให้กินอาหารตามวัย ก่อนอายุ 6 เดือน แต่ไม่ก่อน 4 เดือน โดยควบคู่กับการกินนมแม่ ที่ต้องบอกประเด็นนี้ เนื่องจาก มีคุณแม่ส่วนหนึ่งเข้าใจผิด คิดว่า ทารกก่อน 6 เดือน จะต้องได้แต่นมเท่านั้น ยังไม่สามารถกินข้าวได้ เมื่อมีปัญหานมแม่น้อยลงและไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะได้รับการช่วยเหลือจากคลินิกนมแม่แล้ว ก็หันไปเสริมเป็นนมผง แทนที่จะให้กินเพิ่มเป็นอาหารตามวัย ซึ่งเป็นความเสี่ยงต่อการแพ้นมวัวและโรคภัยต่างๆที่เกิดจากการกินนมผง อายุ 6 เดือน อาหารตามวัย ควรให้ลูกได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ ที่เหมาะสม โดยทั่วไปแนะนำให้เริ่มอาหารตามวัย ด้วยอาหารที่บดละเอียด หนืดพอควร แบบเกาะช้อนพอประมาณ ไม่เหลวไหลแผละ แต่ก็ไม่หนืดหนึบติดช้อน ปริมาณตามภาพที่แนะนำให้ใน 1 มื้อ แต่ถ้ากินปริมาณเท่านี้ได้ไม่หมดในมื้อเดียว สามารถแบ่งกินเป็น 2 มื้อได้ และให้ผลไม้เป็นอาหารว่าง เนื้อสัตว์ สามารถสลับ ไข่แดง เนื้อปลา ตับ (ตับ ไข่แดง วันเว้นวัน  แก้มชมพู เพราะไม่โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก) ค่อยๆเริ่มทีละอย่างเพื่อสังเกตอาการแพ้ อย่าลืมทวงยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก จากคุณหมอ ให้ลูกกินสัปดาห์ละครั้งเพื่อป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ปล 1 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ไอคิวลดลง 3-10 จุด ปล 2 ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพ มีผลทั้ง คนที่ใช้สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม และสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า ลูก 7 เดือน เริ่มกินอาหารตามวัยไปเดือนนึงแล้ว ถึงเวลาเพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เพิ่มผักให้เต็มช้อน ส่วนไข่ ถ้ากินไข่แดงได้แล้วโดยไม่มีอาการแพ้ ช่วงนี้อาจจะเริ่มให้ไข่ขาวได้แล้วนะคะ แต่ถ้ากลัวแพ้อาจจะขยับไปเริ่มหลังจากอายุ 1 ปี โดยให้โปรตีนจากแหล่งอื่น เช่น เนื้อปลา ตับ หมู ไก่ โดยเริ่มและสังเกตทีละอย่าง ลูกอาจจะกินปริมาณที่เตรียมนี้ไม่หมดในครั้งเดียว สามารถเตรียมให้วันละ 2ครั้ง แต่ไม่ควรเกิน 3 ครั้งต่อวันนะคะ เพราะลูกยังจะมีผลไม้เป็นอาหารว่างอีกมื้อนึง   ลูกอายุ 8 เดือน เพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เป็น 4 ช้อนต่อมื้อ เนื้อสัตว์และผักอย่างละ 1 ช้อน เตรียมแบบหยาบกว่าเดิมได้ละค่ะ ให้วันละ 2 ครั้ง ซึ่งถ้ากินไม่หมดในมื้อเดียว อาจจะปรับปริมาณให้กินเป็นวันละ 3 ครั้งเพื่อให้ได้ปริมาณต่อวันตามกำหนด และเพิ่มผลไม้เป็น 3 ชิ้นเพื่อเป็นอาหารว่าง มีคำถามว่า ทำไมต้องใส่น้ำมันพืช ครึ่งช้อนชา เหตุผลคือจากสูตรอาหารนี้ น้ำมันเป็นส่วนหนึ่งที่ให้พลังงาน ทั้งยังช่วยการดูดซึมวิตามินเอ ดี อี เค ที่ละลายในไขมัน และจากประสบการณ์ส่วนตัว น้ำมันพืชทำให้อาหารนวลเนียน อร่อยขึ้นด้วยค่ะ   ลูกอายุ 9-12 เดือน กินอาหารเพิ่มเป็น 3 มื้อ ฝึกทักษะการเคี้ยวให้ลูกด้วยการเพิ่มความหยาบของอาหาร หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ฝึกให้ลูกกินเอง ด้วยการให้จับช้อน หรือ หยิบจับอาหารกินเอง อย่าลืมล้างมือลูกให้สะอาดก่อน ช่วยสอนสุขนิสัยโดยการปฏิบัติตั้งแต่ยังเล็ก ควรให้ลูกได้เรียนรู้รสจากธรรมชาติ ไม่ควรปรุงรสอาหาร ที่สำคัญ อย่าลืม!! ติดตามการเจริญเติบโตของลูกอย่างสม่ำเสมอ โดยการใช้กราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-5 ปี
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
18229
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3   การติดตามภาวะโภชนาการ (ว่าผอม หรือ อ้วน ไปมั้ย) และการเจริญเติบโตของลูก (สูง หรือ เตี้ย) ต้องมีการชั่งน้ำหนัก และวัดความยาว/ส่วนสูง อย่างสม่ำเสมอ ทุก 1-3 เดือน ในเด็กเล็ก ต่ำกว่า 2 ปี ใช้วิธีนอน วัดความยาว ถ้า 2-5 ปี ใช้วิธียืน วัดส่วนสูง ถ้าเด็กเล็กอยากยืนวัด ก็ให้ยืนได้ กรณีกลับกัน เด็กโตกว่า 2 ปี ไม่อยากยืน ก็นอนวัดได้ แต่ในการจุดกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโต ต้องมีการหักลบ โดยถ้าเป็นเด็กเล็ก ยืนวัด ค่าที่ได้จะน้อยลง ต้องนำค่าที่ได้ บวกเพิ่มอีก 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดในกราฟ ส่วนเด็กโตที่นอนวัด จะได้ค่ามากขึ้น ต้องนำค่าที่ได้ลบด้วย 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดประเมินผลในกราฟ เพื่อทราบว่า ลูกมีโภชนาการดีหรือไม่ อ้วนหรือผอมไปหรือเปล่า ต้องใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง โดยแถบสีเขียว คือ ปกติ แต่มีโซนเสี่ยง เป็นสีเขียวแก่ และเขียวอ่อน เพื่อเดือนให้คุณพ่อคุณแม่เร่งจัดการแก้ไขก่อนจะผิดปกติ ส่วนถ้าอยากทราบว่าลูกมีการเจริญเติบโตดีหรือไม่ ให้ใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง จะทราบว่า ลูกเตี้ยหรือสูง เรามีความคาดหวังให้ลูกๆมีทั้งภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตที่ดี ซึ่งประเมินจากกราฟทั้ง 2แบบ ให้เป็นเด็กที่ทั้งสูงและสมส่วน ไม่ใช่เตี้ยสมส่วน หรือ อ้วนไป ผอมไป ปล. คำว่า ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม เป็นโซนเสี่ยง แต่คำว่าเริ่มอ้วน เป็นความผิดปกติแล้ว ต้องรีบแก้ไขด่วนๆ ดูง่ายๆที่สีในกราฟ ถ้าเป็นสีเขียวยังปกติ สีส้ม สีม่วงผิดปกติ สามารถดาวน์โหลดกราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็ก 0-5ปี ซึ่งปรับจาก WHO Growth Standard 2006เริ่มใช้ในประเทศไทยเมื่อปี2558 ได้ที่ http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=1&id=717                   
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
6204
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2 อาหารทารกตามวัย คือหัวใจของทักษะชีวิตและการเจริญเติบโต โดย พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อาหารตามวัยเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มของชีวิต ในการรับประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้เรียนรู้จากการกินอาหาร หลังจากทารกได้กินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกแล้ว ควรให้อาหารตามวัยที่เหมาะสม ควบคู่กับนมแม่ เหตุผลเพราะหลัง 6 เดือน ทารกต้องการพลังงานมากขึ้น (ซึ่งควรเป็นจากอาหารที่เตรียมจากข้าวบด ใส่ไข่ ตับ ปลา หมู ไก่ ผัก สลับหมุนเวียนกันไป) ไม่ใช่เพราะนมแม่หมดคุณค่า หรือ ไม่มีประโยชน์แล้ว นมแม่มีประโยชน์ เพื่อการเติบโตสมวัย ให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนแรก เมื่อครบ 6 เดือน เริ่มให้อาหารตามวัยควบคู่กับนมแม่ อย่างไรก็ตาม ถ้าแพทย์ประจำตัวของลูก ซึ่งดูแลลูกเป็นระยะมาตลอด พบว่า ในช่วง 4-6 เดือน ที่ลูกกินนมแม่อย่างเดียว แต่มีปัญหาน้ำหนักขึ้นน้อยลง และไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะมีความช่วยเหลือด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเต็มที่แล้ว แพทย์อาจจะพิจารณาให้กินอาหารตามวัย ก่อนอายุ 6 เดือน แต่ไม่ก่อน 4 เดือน โดยควบคู่กับการกินนมแม่ ที่ต้องบอกประเด็นนี้ เนื่องจาก มีคุณแม่ส่วนหนึ่งเข้าใจผิด คิดว่า ทารกก่อน 6 เดือน จะต้องได้แต่นมเท่านั้น ยังไม่สามารถกินข้าวได้ เมื่อมีปัญหานมแม่น้อยลงและไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะได้รับการช่วยเหลือจากคลินิกนมแม่แล้ว ก็หันไปเสริมเป็นนมผง แทนที่จะให้กินเพิ่มเป็นอาหารตามวัย ซึ่งเป็นความเสี่ยงต่อการแพ้นมวัวและโรคภัยต่างๆที่เกิดจากการกินนมผง อายุ 6 เดือน อาหารตามวัย ควรให้ลูกได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ ที่เหมาะสม โดยทั่วไปแนะนำให้เริ่มอาหารตามวัย ด้วยอาหารที่บดละเอียด หนืดพอควร แบบเกาะช้อนพอประมาณ ไม่เหลวไหลแผละ แต่ก็ไม่หนืดหนึบติดช้อน ปริมาณตามภาพที่แนะนำให้ใน 1 มื้อ แต่ถ้ากินปริมาณเท่านี้ได้ไม่หมดในมื้อเดียว สามารถแบ่งกินเป็น 2 มื้อได้ และให้ผลไม้เป็นอาหารว่าง เนื้อสัตว์ สามารถสลับ ไข่แดง เนื้อปลา ตับ (ตับ ไข่แดง วันเว้นวัน  แก้มชมพู เพราะไม่โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก) ค่อยๆเริ่มทีละอย่างเพื่อสังเกตอาการแพ้ อย่าลืมทวงยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก จากคุณหมอ ให้ลูกกินสัปดาห์ละครั้งเพื่อป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ปล 1 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ไอคิวลดลง 3-10 จุด ปล 2 ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพ มีผลทั้ง คนที่ใช้สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม และสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า ลูก 7 เดือน เริ่มกินอาหารตามวัยไปเดือนนึงแล้ว ถึงเวลาเพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เพิ่มผักให้เต็มช้อน ส่วนไข่ ถ้ากินไข่แดงได้แล้วโดยไม่มีอาการแพ้ ช่วงนี้อาจจะเริ่มให้ไข่ขาวได้แล้วนะคะ แต่ถ้ากลัวแพ้อาจจะขยับไปเริ่มหลังจากอายุ 1 ปี โดยให้โปรตีนจากแหล่งอื่น เช่น เนื้อปลา ตับ หมู ไก่ โดยเริ่มและสังเกตทีละอย่าง ลูกอาจจะกินปริมาณที่เตรียมนี้ไม่หมดในครั้งเดียว สามารถเตรียมให้วันละ 2ครั้ง แต่ไม่ควรเกิน 3 ครั้งต่อวันนะคะ เพราะลูกยังจะมีผลไม้เป็นอาหารว่างอีกมื้อนึง   ลูกอายุ 8 เดือน เพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เป็น 4 ช้อนต่อมื้อ เนื้อสัตว์และผักอย่างละ 1 ช้อน เตรียมแบบหยาบกว่าเดิมได้ละค่ะ ให้วันละ 2 ครั้ง ซึ่งถ้ากินไม่หมดในมื้อเดียว อาจจะปรับปริมาณให้กินเป็นวันละ 3 ครั้งเพื่อให้ได้ปริมาณต่อวันตามกำหนด และเพิ่มผลไม้เป็น 3 ชิ้นเพื่อเป็นอาหารว่าง มีคำถามว่า ทำไมต้องใส่น้ำมันพืช ครึ่งช้อนชา เหตุผลคือจากสูตรอาหารนี้ น้ำมันเป็นส่วนหนึ่งที่ให้พลังงาน ทั้งยังช่วยการดูดซึมวิตามินเอ ดี อี เค ที่ละลายในไขมัน และจากประสบการณ์ส่วนตัว น้ำมันพืชทำให้อาหารนวลเนียน อร่อยขึ้นด้วยค่ะ   ลูกอายุ 9-12 เดือน กินอาหารเพิ่มเป็น 3 มื้อ ฝึกทักษะการเคี้ยวให้ลูกด้วยการเพิ่มความหยาบของอาหาร หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ฝึกให้ลูกกินเอง ด้วยการให้จับช้อน หรือ หยิบจับอาหารกินเอง อย่าลืมล้างมือลูกให้สะอาดก่อน ช่วยสอนสุขนิสัยโดยการปฏิบัติตั้งแต่ยังเล็ก ควรให้ลูกได้เรียนรู้รสจากธรรมชาติ ไม่ควรปรุงรสอาหาร ที่สำคัญ อย่าลืม!! ติดตามการเจริญเติบโตของลูกอย่างสม่ำเสมอ โดยการใช้กราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-5 ปี
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
2972
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1   แชร์ประสบการณ์ให้นมลูก ประสบการณ์จากความเป็นแม่หัวนมบอด คลอดในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ที่จับแม่ลูกแยกกัน กว่าจะได้เลี้ยงก็ผ่านไปเกินวัน จนเต้านมคัด ลูกดูดไม่ได้ร้องไห้โยเย พยายามศึกษาด้วยตนเองจนสามารถให้ลูกดูดจนหัวนมยื่นออกมาจนได้ ลูกได้กินนมแม่ 1 ปีเต็ม แต่ความที่ได้นมผงร่วมด้วยตั้งแต่แรกเกิด บวกกับความเข้าใจผิดที่อยากให้ลูกในท้องน้ำหนักขึ้นดีๆ ด้วยการกินนมวันละลิตรช่วงท้อง ผสมกับประวัติภูมิแพ้หอบหืดของแม่ ลูกชายจึงโตมาแบบแพ้นมวัว มีอาการตามตำราเป๊ะๆ ยันโต ด้วยปัญหาที่เจอกับตัวเหล่านี้ จึงอยากช่วยเหลือแม่ให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ อาศัยช่วงเวลาที่ทำงานเป็นหมอเด็กในโรงพยาบาลแม่และเด็ก (หรือชื่อว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน) ศึกษาเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจัง และสอบได้ใบอนุญาตเป็นที่ปรึกษานมแม่ระหว่างประเทศ (International Board Certified Lactation Consultant: IBCLC) ตั้งแต่ปี 2007 หลังจากนั้นเริ่มพบว่าเด็กที่กินนมแม่ได้ แต่กินข้าวต่อไม่เป็น จึงหันมาสนใจการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้อง เป็นช่วงเวลาที่ทำให้เบนเข็มการทำงานเข้ามาอยู่ในสำนักโภชนาการ หลังจากได้เป็นหัวหน้าหน่วยงานนี้ จึงได้ให้นักโภชนาการปรับปรุงคำแนะนำการให้อาหารตามวัยที่บรรจุอยู่ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (สมุดชมพู) ให้ง่ายต่อการเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตาม สมุดชมพูนี้ จะแพร่หลายเฉพาะในคุณแม่ที่มารับบริการในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงหน่วยงานสังกัดอื่นและเอกชน ทั้งๆที่กรมอนามัยตั้งงบทุกปีเพื่อพิมพ์สมุดนี้เพียงพอสำหรับแม่และเด็กทั่วประเทศไม่ขึ้นกับสังกัด แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมในภาคเอกชน หมอหย่งจึงอาศัยโอกาสที่มีกิจกรรมกลุ่มของแม่อาสาศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทยฯ มาให้ความรู้ และสื่อสารผ่านทางสื่อโซเชียล เกี่ยวกับการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้อง  
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
18229
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3   การติดตามภาวะโภชนาการ (ว่าผอม หรือ อ้วน ไปมั้ย) และการเจริญเติบโตของลูก (สูง หรือ เตี้ย) ต้องมีการชั่งน้ำหนัก และวัดความยาว/ส่วนสูง อย่างสม่ำเสมอ ทุก 1-3 เดือน ในเด็กเล็ก ต่ำกว่า 2 ปี ใช้วิธีนอน วัดความยาว ถ้า 2-5 ปี ใช้วิธียืน วัดส่วนสูง ถ้าเด็กเล็กอยากยืนวัด ก็ให้ยืนได้ กรณีกลับกัน เด็กโตกว่า 2 ปี ไม่อยากยืน ก็นอนวัดได้ แต่ในการจุดกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโต ต้องมีการหักลบ โดยถ้าเป็นเด็กเล็ก ยืนวัด ค่าที่ได้จะน้อยลง ต้องนำค่าที่ได้ บวกเพิ่มอีก 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดในกราฟ ส่วนเด็กโตที่นอนวัด จะได้ค่ามากขึ้น ต้องนำค่าที่ได้ลบด้วย 0.7 ซม ก่อนนำไปจุดประเมินผลในกราฟ เพื่อทราบว่า ลูกมีโภชนาการดีหรือไม่ อ้วนหรือผอมไปหรือเปล่า ต้องใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง โดยแถบสีเขียว คือ ปกติ แต่มีโซนเสี่ยง เป็นสีเขียวแก่ และเขียวอ่อน เพื่อเดือนให้คุณพ่อคุณแม่เร่งจัดการแก้ไขก่อนจะผิดปกติ ส่วนถ้าอยากทราบว่าลูกมีการเจริญเติบโตดีหรือไม่ ให้ใช้กราฟน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง จะทราบว่า ลูกเตี้ยหรือสูง เรามีความคาดหวังให้ลูกๆมีทั้งภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตที่ดี ซึ่งประเมินจากกราฟทั้ง 2แบบ ให้เป็นเด็กที่ทั้งสูงและสมส่วน ไม่ใช่เตี้ยสมส่วน หรือ อ้วนไป ผอมไป ปล. คำว่า ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม เป็นโซนเสี่ยง แต่คำว่าเริ่มอ้วน เป็นความผิดปกติแล้ว ต้องรีบแก้ไขด่วนๆ ดูง่ายๆที่สีในกราฟ ถ้าเป็นสีเขียวยังปกติ สีส้ม สีม่วงผิดปกติ สามารถดาวน์โหลดกราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็ก 0-5ปี ซึ่งปรับจาก WHO Growth Standard 2006เริ่มใช้ในประเทศไทยเมื่อปี2558 ได้ที่ http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group=1&id=717                   
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 3

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
6204
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2 อาหารทารกตามวัย คือหัวใจของทักษะชีวิตและการเจริญเติบโต โดย พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อาหารตามวัยเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มของชีวิต ในการรับประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ได้เรียนรู้จากการกินอาหาร หลังจากทารกได้กินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกแล้ว ควรให้อาหารตามวัยที่เหมาะสม ควบคู่กับนมแม่ เหตุผลเพราะหลัง 6 เดือน ทารกต้องการพลังงานมากขึ้น (ซึ่งควรเป็นจากอาหารที่เตรียมจากข้าวบด ใส่ไข่ ตับ ปลา หมู ไก่ ผัก สลับหมุนเวียนกันไป) ไม่ใช่เพราะนมแม่หมดคุณค่า หรือ ไม่มีประโยชน์แล้ว นมแม่มีประโยชน์ เพื่อการเติบโตสมวัย ให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนแรก เมื่อครบ 6 เดือน เริ่มให้อาหารตามวัยควบคู่กับนมแม่ อย่างไรก็ตาม ถ้าแพทย์ประจำตัวของลูก ซึ่งดูแลลูกเป็นระยะมาตลอด พบว่า ในช่วง 4-6 เดือน ที่ลูกกินนมแม่อย่างเดียว แต่มีปัญหาน้ำหนักขึ้นน้อยลง และไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะมีความช่วยเหลือด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเต็มที่แล้ว แพทย์อาจจะพิจารณาให้กินอาหารตามวัย ก่อนอายุ 6 เดือน แต่ไม่ก่อน 4 เดือน โดยควบคู่กับการกินนมแม่ ที่ต้องบอกประเด็นนี้ เนื่องจาก มีคุณแม่ส่วนหนึ่งเข้าใจผิด คิดว่า ทารกก่อน 6 เดือน จะต้องได้แต่นมเท่านั้น ยังไม่สามารถกินข้าวได้ เมื่อมีปัญหานมแม่น้อยลงและไม่ดีขึ้นแม้ว่าจะได้รับการช่วยเหลือจากคลินิกนมแม่แล้ว ก็หันไปเสริมเป็นนมผง แทนที่จะให้กินเพิ่มเป็นอาหารตามวัย ซึ่งเป็นความเสี่ยงต่อการแพ้นมวัวและโรคภัยต่างๆที่เกิดจากการกินนมผง อายุ 6 เดือน อาหารตามวัย ควรให้ลูกได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ ที่เหมาะสม โดยทั่วไปแนะนำให้เริ่มอาหารตามวัย ด้วยอาหารที่บดละเอียด หนืดพอควร แบบเกาะช้อนพอประมาณ ไม่เหลวไหลแผละ แต่ก็ไม่หนืดหนึบติดช้อน ปริมาณตามภาพที่แนะนำให้ใน 1 มื้อ แต่ถ้ากินปริมาณเท่านี้ได้ไม่หมดในมื้อเดียว สามารถแบ่งกินเป็น 2 มื้อได้ และให้ผลไม้เป็นอาหารว่าง เนื้อสัตว์ สามารถสลับ ไข่แดง เนื้อปลา ตับ (ตับ ไข่แดง วันเว้นวัน  แก้มชมพู เพราะไม่โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก) ค่อยๆเริ่มทีละอย่างเพื่อสังเกตอาการแพ้ อย่าลืมทวงยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก จากคุณหมอ ให้ลูกกินสัปดาห์ละครั้งเพื่อป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ปล 1 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ไอคิวลดลง 3-10 จุด ปล 2 ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพ มีผลทั้ง คนที่ใช้สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม และสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า ลูก 7 เดือน เริ่มกินอาหารตามวัยไปเดือนนึงแล้ว ถึงเวลาเพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เพิ่มผักให้เต็มช้อน ส่วนไข่ ถ้ากินไข่แดงได้แล้วโดยไม่มีอาการแพ้ ช่วงนี้อาจจะเริ่มให้ไข่ขาวได้แล้วนะคะ แต่ถ้ากลัวแพ้อาจจะขยับไปเริ่มหลังจากอายุ 1 ปี โดยให้โปรตีนจากแหล่งอื่น เช่น เนื้อปลา ตับ หมู ไก่ โดยเริ่มและสังเกตทีละอย่าง ลูกอาจจะกินปริมาณที่เตรียมนี้ไม่หมดในครั้งเดียว สามารถเตรียมให้วันละ 2ครั้ง แต่ไม่ควรเกิน 3 ครั้งต่อวันนะคะ เพราะลูกยังจะมีผลไม้เป็นอาหารว่างอีกมื้อนึง   ลูกอายุ 8 เดือน เพิ่มข้าวอีก 1 ช้อน เป็น 4 ช้อนต่อมื้อ เนื้อสัตว์และผักอย่างละ 1 ช้อน เตรียมแบบหยาบกว่าเดิมได้ละค่ะ ให้วันละ 2 ครั้ง ซึ่งถ้ากินไม่หมดในมื้อเดียว อาจจะปรับปริมาณให้กินเป็นวันละ 3 ครั้งเพื่อให้ได้ปริมาณต่อวันตามกำหนด และเพิ่มผลไม้เป็น 3 ชิ้นเพื่อเป็นอาหารว่าง มีคำถามว่า ทำไมต้องใส่น้ำมันพืช ครึ่งช้อนชา เหตุผลคือจากสูตรอาหารนี้ น้ำมันเป็นส่วนหนึ่งที่ให้พลังงาน ทั้งยังช่วยการดูดซึมวิตามินเอ ดี อี เค ที่ละลายในไขมัน และจากประสบการณ์ส่วนตัว น้ำมันพืชทำให้อาหารนวลเนียน อร่อยขึ้นด้วยค่ะ   ลูกอายุ 9-12 เดือน กินอาหารเพิ่มเป็น 3 มื้อ ฝึกทักษะการเคี้ยวให้ลูกด้วยการเพิ่มความหยาบของอาหาร หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ฝึกให้ลูกกินเอง ด้วยการให้จับช้อน หรือ หยิบจับอาหารกินเอง อย่าลืมล้างมือลูกให้สะอาดก่อน ช่วยสอนสุขนิสัยโดยการปฏิบัติตั้งแต่ยังเล็ก ควรให้ลูกได้เรียนรู้รสจากธรรมชาติ ไม่ควรปรุงรสอาหาร ที่สำคัญ อย่าลืม!! ติดตามการเจริญเติบโตของลูกอย่างสม่ำเสมอ โดยการใช้กราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-5 ปี
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกันมแม่ ตอน2

[seed_social]
[seed_social]
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1 จิปาถะ : สำหรับลูก
โดย soraya
08 ธันวาคม 2017
2972
อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1   แชร์ประสบการณ์ให้นมลูก ประสบการณ์จากความเป็นแม่หัวนมบอด คลอดในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ที่จับแม่ลูกแยกกัน กว่าจะได้เลี้ยงก็ผ่านไปเกินวัน จนเต้านมคัด ลูกดูดไม่ได้ร้องไห้โยเย พยายามศึกษาด้วยตนเองจนสามารถให้ลูกดูดจนหัวนมยื่นออกมาจนได้ ลูกได้กินนมแม่ 1 ปีเต็ม แต่ความที่ได้นมผงร่วมด้วยตั้งแต่แรกเกิด บวกกับความเข้าใจผิดที่อยากให้ลูกในท้องน้ำหนักขึ้นดีๆ ด้วยการกินนมวันละลิตรช่วงท้อง ผสมกับประวัติภูมิแพ้หอบหืดของแม่ ลูกชายจึงโตมาแบบแพ้นมวัว มีอาการตามตำราเป๊ะๆ ยันโต ด้วยปัญหาที่เจอกับตัวเหล่านี้ จึงอยากช่วยเหลือแม่ให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้สำเร็จ อาศัยช่วงเวลาที่ทำงานเป็นหมอเด็กในโรงพยาบาลแม่และเด็ก (หรือชื่อว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน) ศึกษาเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจัง และสอบได้ใบอนุญาตเป็นที่ปรึกษานมแม่ระหว่างประเทศ (International Board Certified Lactation Consultant: IBCLC) ตั้งแต่ปี 2007 หลังจากนั้นเริ่มพบว่าเด็กที่กินนมแม่ได้ แต่กินข้าวต่อไม่เป็น จึงหันมาสนใจการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้อง เป็นช่วงเวลาที่ทำให้เบนเข็มการทำงานเข้ามาอยู่ในสำนักโภชนาการ หลังจากได้เป็นหัวหน้าหน่วยงานนี้ จึงได้ให้นักโภชนาการปรับปรุงคำแนะนำการให้อาหารตามวัยที่บรรจุอยู่ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (สมุดชมพู) ให้ง่ายต่อการเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตาม สมุดชมพูนี้ จะแพร่หลายเฉพาะในคุณแม่ที่มารับบริการในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงหน่วยงานสังกัดอื่นและเอกชน ทั้งๆที่กรมอนามัยตั้งงบทุกปีเพื่อพิมพ์สมุดนี้เพียงพอสำหรับแม่และเด็กทั่วประเทศไม่ขึ้นกับสังกัด แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมในภาคเอกชน หมอหย่งจึงอาศัยโอกาสที่มีกิจกรรมกลุ่มของแม่อาสาศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทยฯ มาให้ความรู้ และสื่อสารผ่านทางสื่อโซเชียล เกี่ยวกับการให้อาหารตามวัยที่ถูกต้อง  
แชร์ให้เพื่อน

อาหารตามวัย ควบคู่ไปกับนมแม่ ตอน 1

[seed_social]
[seed_social]