คำถามแม่

เป็นก้อนไตแข็งๆ ที่เต้านม เจ็บมาก (ท่อน้ำนมอุดตัน)
เขียนโดย Admin
22 มิถุนายน 2017
ลักษณะของท่อน้ำนมอุดตัน (blocked duct) จะเป็นก้อนไตแข็งๆ ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งของเต้านม โดยไม่ได้เป็นทั้งเต้า เมื่อกดลงไปจะรู้สึกเจ็บและอาจบวมแดง แต่ไม่มีไข้
แชร์ให้เพื่อน

เป็นก้อนไตแข็งๆ ที่เต้านม เจ็บมาก (ท่อน้ำนมอุดตัน)

[seed_social]
[seed_social]
ให้นมลูกอยู่ ใช้ยานี้ได้ไหม
เขียนโดย Admin
22 มิถุนายน 2017
ในกระดานสนทนามักมีคำถามเรื่องยาที่คุณแม่ได้รับมาจากแพทย์ และอยากรู้ว่าจะใช้ได้ไหม หลายครั้งก็เป็นเรื่องเร่งด่วน บางคนก็ยอมทนกับความเจ็บป่วยเพราะไม่กล้าใช้ยานั้น จนกว่าคุณหมอๆ ของเว็บไซต์จะเข้ามาตอบในกระดานสนทนา หมอจึงเขียนบทความนี้เพื่อให้คุณแม่ได้ใช้ในยามฉุกเฉิน
แชร์ให้เพื่อน

ให้นมลูกอยู่ ใช้ยานี้ได้ไหม

[seed_social]
[seed_social]
เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย soraya
10 ธันวาคม 2017
2566
เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม   คุณหมอแจ๊ค นิวแมน กุมารแพทย์ชื่อดังระดับโลกด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีผลงานวิจัยและค้นคว้าจำนวนมาก ได้เคยพูดถึงปัญหาที่พบบ่อย คือ การที่คุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะรู้สึกเจ็บหัวนม ซึ่งสาเหตุที่เจอส่วนใหญ่ คือ ทารกมีท่าดูดนมที่ไม่ถูกต้อง ภาพที่ 1 เป็นท่าดูดนมที่ถูกวิธี ภาพที่ 2 เมื่อคุณแม่ได้ปรับท่าให้เป็น asymmetric latch ให้เหมือนกับภาพที่ 1 อาการเจ็บหัวนมของคุณแม่จะหายไปเลย ในภาพ asymmetrical latch คางชิดนม แต่จมูกไม่ชิด ขากรรไกรล่างและลิ้นของลูกจะสามารถกระตุ้นเต้านมบริเวณนั้น ทำให้เกิดมีการสร้างการหลั่งน้ำนมได้ดี และคุณแแม่จะไม่รู้สึกเจ็บ ตรงข้ามกับภาพที่ 2 เมื่อลูกมีท่าดูดนมไม่ถูกวิธี จมูกชิดกับเต้านม แต่คางไม่ชิด ขากรรไกรบนไม่ขยับ การกระตุ้นทำได้ไม่ดีเท่า และขากรรไกรล่างและลิ้นก็อยู่ตื้นๆ เวลาลูกดูดนม แม่จึงรู้สึกเจ็บที่หัวนมอย่างมาก ลองทบทวนและปรับท่าดูดนมของลูกให้ถูกวิธีกันเถอะค่ะ ขอบคุณข้อมูล พญ. กรรณิการ์ บางสายน้อย มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
แชร์ให้เพื่อน

เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม

[seed_social]
[seed_social]
เพิ่งรู้ว่าตั้งครรภ์ ลูกคนโตยังดูดนมแม่อยู่ จะให้นมลูกต่อไปได้หรือไม่ หรือต้องหย่านม ? จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
12646
ตั้งครรภ์ขณะให้นมลูกอยู่ จะให้ต่อได้ไหม? ต้องกินอาหารเพิ่มเติมมากเท่าไหร่?
แชร์ให้เพื่อน

เพิ่งรู้ว่าตั้งครรภ์ ลูกคนโตยังดูดนมแม่อยู่ จะให้นมลูกต่อไปได้หรือไม่ หรือต้องหย่านม ?

[seed_social]
[seed_social]
แม่หลังคลอดผมร่วงมาก จะหัวล้านไหม จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
1714
อาการผมร่วงจะเป็นชั่วคราว และกลับเป็นปกติใน 6 – 12 เดือน
แชร์ให้เพื่อน

แม่หลังคลอดผมร่วงมาก จะหัวล้านไหม

[seed_social]
[seed_social]
เป็นก้อนไตแข็งๆ ที่เต้านม เจ็บมาก (ท่อน้ำนมอุดตัน) ปัญหาเต้านม
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
97985
ลักษณะของท่อน้ำนมอุดตัน (blocked duct) จะเป็นก้อนไตแข็งๆ ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งของเต้านม โดยไม่ได้เป็นทั้งเต้า เมื่อกดลงไปจะรู้สึกเจ็บและอาจบวมแดง แต่ไม่มีไข้
แชร์ให้เพื่อน

เป็นก้อนไตแข็งๆ ที่เต้านม เจ็บมาก (ท่อน้ำนมอุดตัน)

[seed_social]
[seed_social]
ให้นมลูกอยู่ ใช้ยานี้ได้ไหม เมื่อแม่เจ็บป่วย
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
64087
ในกระดานสนทนามักมีคำถามเรื่องยาที่คุณแม่ได้รับมาจากแพทย์ และอยากรู้ว่าจะใช้ได้ไหม หลายครั้งก็เป็นเรื่องเร่งด่วน บางคนก็ยอมทนกับความเจ็บป่วยเพราะไม่กล้าใช้ยานั้น จนกว่าคุณหมอๆ ของเว็บไซต์จะเข้ามาตอบในกระดานสนทนา หมอจึงเขียนบทความนี้เพื่อให้คุณแม่ได้ใช้ในยามฉุกเฉิน
แชร์ให้เพื่อน

ให้นมลูกอยู่ ใช้ยานี้ได้ไหม

[seed_social]
[seed_social]
เต้านมคัด ปวดมาก จะทำอย่างไรดี ปัญหาเต้านม
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
51854
มักเป็นทั้งเต้าและเป็นทั้ง 2 ข้าง เกิดจากการสร้างน้ำนมแม่ได้มาก แต่ไม่สามารถระบายน้ำนมออกหรือระบายออกไม่ทัน จึงเกิดอาการคัด บวม แข็ง เต้านมจะร้อน ผิวแดงเป็นมัน เจ็บ ลานนมตึงแข็ง ทำให้หัวนมสั้นลงจนลูกดูดไม่ได้ น้ำนมไหลไม่ดี บางครั้งอาจจะมีไข้ได้ แต่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง สาเหตุของเต้านมคัด 1. ร่างกายสร้างน้ำนมได้มากกว่าปริมาณที่ลูกกิน 2. แม่ทิ้งช่วงการให้ลูกกินนมนานเกินไป ให้นมลูกไม่บ่อยพอ จำกัดเวลาการให้นมลูก หรือไม่ได้บีบออกในช่วงที่ลูกไม่ได้ดูด ทำให้มีน้ำนมสะสมในเต้ามาก 3. ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ทำให้การระบายไม่ดีเท่าที่ควร วิธีแก้ไขปัญหาเต้านมคัด 1. ประคบเต้านมด้วยผ้าอุ่นจัดอย่างน้อย 10 นาทีก่อนที่จะให้นมลูก ควรใช้ผ้าขนหนูผืนใหญ่พอที่จะหุ้มเต้านมได้โดยรอบ ตามด้วยการนวดและคลึงเต้านมเบาๆ จากฐานลงไปที่หัวนม (ดูได้จากวิดีโอ) 2. บีบน้ำนมออกจนลานหัวนมนุ่มลง จะช่วยให้ลูกงับลานหัวนมง่ายขึ้น 3. ให้ลูกดูดน้ำนมบ่อยมากขึ้น อย่างน้อยทุก 2 – 2 ½ ชั่วโมง ดูดให้ถูกวิธี เพื่อระบายน้ำนมออกจากเต้าให้ได้มากที่สุด และต้องให้ดูดในเวลากลางคืนด้วย มิฉะนั้นเต้านมจะคัดในเช้าวันรุ่งขึ้นอีก อีก ถ้าไม่สามารถให้นมลูกได้ตามเวลา ควรบีบน้ำนมออกเก็บไว้ 4. หลังให้นมลูกเสร็จ ประคบเต้านมด้วยความเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด 5. ถ้าแม่เจ็บมากจนให้ลูกดูดนมไม่ได้ อาจต้องพัก ระบายน้ำนมออกโดยบีบหรือปั๊มออก และป้อนนมแม่จากถ้วยให้ลูกแทน 6. รับประทานยาแก้ปวด ตามความจำเป็นเช่น พาราเซทตามอล 7. ควรใส่เสื้อชั้นในเพื่อพยุงเต้านมไว้ 8. บีบเอาน้ำนมออกได้เรื่อย ๆ ถ้าจำเป็น เพื่อจะได้คลายความเจ็บปวดจนกว่าอาการเต้านมคัดจะดีขึ้น 9. หากอาการคัดเป็นรุนแรงมาก ควรปรึกษาคลินิกนมแม่ การป้องกันเต้านมคัด 1. ไม่ควรทิ้งระยะให้นมลูกนานเกินไป หากมีธุระไม่สามารถให้นมลูกได้ตามเวลา ควรบีบน้ำนมออกมาเก็บไว้เพื่อให้ลูกทานด้วยถ้วย 2. ให้ลูกดูดนมบ่อยๆ ดูดถูกวิธี และดูดจนเกลี้ยงเต้า ในกรณีที่คัดและปวดมากจนแตะไม่ได้ วิธีที่ช่วยได้คือ นำกะละมังใส่น้ำอุ่นจัดที่พอทนได้วางบนโต๊ะ แล้วก้มตัวลงโดยใช้ข้อศอกยันโต๊ะไว้ ให้เต้านมจุ่มลงในน้ำสักพักใหญ่ๆ แล้วกระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด)โดยโดยนวดเต้านมเบาๆ หรือใช้หลังนิ้วลูบเบาๆ จากนั้นจึงแช่เต้าในกะละมังอีกครั้งค่อยๆ ใช้มือบีบน้ำนมออกทีละน้อยเท่าที่จะทนเจ็บได้ (คุณแม่ในภาพมีรอยแดงรอบลานนมที่เต้าขวาเนื่องจากเต้านมอักเสบด้วย) ภาพที่ 1 แช่เต้าในกะละมังใส่น้ำที่อุ่นจัดพอทนได้ ภาพที่ 2 กระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด)โดยนวดเต้านมเบาๆ ภาพที่ 3 กระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด) โดยใช้หลังนิ้วลูบเบาๆ ที่เต้านมจากรอบนอกมาทางลานนม ภาพที่ 4 แช่เต้าในกะละมังอีกครั้งค่อยๆ ใช้มือบีบน้ำนมออกทีละน้อยเท่าที่จะทนเจ็บได้
แชร์ให้เพื่อน

เต้านมคัด ปวดมาก จะทำอย่างไรดี

[seed_social]
[seed_social]
เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย soraya
10 ธันวาคม 2017
2566
เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม   คุณหมอแจ๊ค นิวแมน กุมารแพทย์ชื่อดังระดับโลกด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีผลงานวิจัยและค้นคว้าจำนวนมาก ได้เคยพูดถึงปัญหาที่พบบ่อย คือ การที่คุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะรู้สึกเจ็บหัวนม ซึ่งสาเหตุที่เจอส่วนใหญ่ คือ ทารกมีท่าดูดนมที่ไม่ถูกต้อง ภาพที่ 1 เป็นท่าดูดนมที่ถูกวิธี ภาพที่ 2 เมื่อคุณแม่ได้ปรับท่าให้เป็น asymmetric latch ให้เหมือนกับภาพที่ 1 อาการเจ็บหัวนมของคุณแม่จะหายไปเลย ในภาพ asymmetrical latch คางชิดนม แต่จมูกไม่ชิด ขากรรไกรล่างและลิ้นของลูกจะสามารถกระตุ้นเต้านมบริเวณนั้น ทำให้เกิดมีการสร้างการหลั่งน้ำนมได้ดี และคุณแแม่จะไม่รู้สึกเจ็บ ตรงข้ามกับภาพที่ 2 เมื่อลูกมีท่าดูดนมไม่ถูกวิธี จมูกชิดกับเต้านม แต่คางไม่ชิด ขากรรไกรบนไม่ขยับ การกระตุ้นทำได้ไม่ดีเท่า และขากรรไกรล่างและลิ้นก็อยู่ตื้นๆ เวลาลูกดูดนม แม่จึงรู้สึกเจ็บที่หัวนมอย่างมาก ลองทบทวนและปรับท่าดูดนมของลูกให้ถูกวิธีกันเถอะค่ะ ขอบคุณข้อมูล พญ. กรรณิการ์ บางสายน้อย มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
แชร์ให้เพื่อน

เมื่อลูกมีท่าดูดนมผิดวิธี ส่งผลให้คุณแม่เจ็บหัวนม

[seed_social]
[seed_social]
เพิ่งรู้ว่าตั้งครรภ์ ลูกคนโตยังดูดนมแม่อยู่ จะให้นมลูกต่อไปได้หรือไม่ หรือต้องหย่านม ? จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
12646
ตั้งครรภ์ขณะให้นมลูกอยู่ จะให้ต่อได้ไหม? ต้องกินอาหารเพิ่มเติมมากเท่าไหร่?
แชร์ให้เพื่อน

เพิ่งรู้ว่าตั้งครรภ์ ลูกคนโตยังดูดนมแม่อยู่ จะให้นมลูกต่อไปได้หรือไม่ หรือต้องหย่านม ?

[seed_social]
[seed_social]
แม่หลังคลอดผมร่วงมาก จะหัวล้านไหม จิปาถะ : สำหรับแม่
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
1714
อาการผมร่วงจะเป็นชั่วคราว และกลับเป็นปกติใน 6 – 12 เดือน
แชร์ให้เพื่อน

แม่หลังคลอดผมร่วงมาก จะหัวล้านไหม

[seed_social]
[seed_social]
น้ำนมมีสี ผิดปกติไหม ปัญหาเต้านม
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
1832
น้ำนมแม่ในระยะ 1-2 สัปดาห์แรกเป็นยอดน้ำนม และเป็นภูมิคุ้มกันโรคชั้นดีเยี่ยม
แชร์ให้เพื่อน

น้ำนมมีสี ผิดปกติไหม

[seed_social]
[seed_social]
เต้านม 2 ข้างไม่เท่ากัน ปัญหาเต้านม
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
3939
เกิดจากการที่ร่างกายมีการสร้างน้ำนมที่ไม่เท่ากัน เนื่องจากการสร้างน้ำนมมากหรือน้อยขึ้นกับ demand – supply ถ้าดูดมาก ก็สร้างมาก
แชร์ให้เพื่อน

เต้านม 2 ข้างไม่เท่ากัน

[seed_social]
[seed_social]
เต้านมคัด ปวดมาก จะทำอย่างไรดี ปัญหาเต้านม
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
51854
มักเป็นทั้งเต้าและเป็นทั้ง 2 ข้าง เกิดจากการสร้างน้ำนมแม่ได้มาก แต่ไม่สามารถระบายน้ำนมออกหรือระบายออกไม่ทัน จึงเกิดอาการคัด บวม แข็ง เต้านมจะร้อน ผิวแดงเป็นมัน เจ็บ ลานนมตึงแข็ง ทำให้หัวนมสั้นลงจนลูกดูดไม่ได้ น้ำนมไหลไม่ดี บางครั้งอาจจะมีไข้ได้ แต่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง สาเหตุของเต้านมคัด 1. ร่างกายสร้างน้ำนมได้มากกว่าปริมาณที่ลูกกิน 2. แม่ทิ้งช่วงการให้ลูกกินนมนานเกินไป ให้นมลูกไม่บ่อยพอ จำกัดเวลาการให้นมลูก หรือไม่ได้บีบออกในช่วงที่ลูกไม่ได้ดูด ทำให้มีน้ำนมสะสมในเต้ามาก 3. ให้ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ทำให้การระบายไม่ดีเท่าที่ควร วิธีแก้ไขปัญหาเต้านมคัด 1. ประคบเต้านมด้วยผ้าอุ่นจัดอย่างน้อย 10 นาทีก่อนที่จะให้นมลูก ควรใช้ผ้าขนหนูผืนใหญ่พอที่จะหุ้มเต้านมได้โดยรอบ ตามด้วยการนวดและคลึงเต้านมเบาๆ จากฐานลงไปที่หัวนม (ดูได้จากวิดีโอ) 2. บีบน้ำนมออกจนลานหัวนมนุ่มลง จะช่วยให้ลูกงับลานหัวนมง่ายขึ้น 3. ให้ลูกดูดน้ำนมบ่อยมากขึ้น อย่างน้อยทุก 2 – 2 ½ ชั่วโมง ดูดให้ถูกวิธี เพื่อระบายน้ำนมออกจากเต้าให้ได้มากที่สุด และต้องให้ดูดในเวลากลางคืนด้วย มิฉะนั้นเต้านมจะคัดในเช้าวันรุ่งขึ้นอีก อีก ถ้าไม่สามารถให้นมลูกได้ตามเวลา ควรบีบน้ำนมออกเก็บไว้ 4. หลังให้นมลูกเสร็จ ประคบเต้านมด้วยความเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด 5. ถ้าแม่เจ็บมากจนให้ลูกดูดนมไม่ได้ อาจต้องพัก ระบายน้ำนมออกโดยบีบหรือปั๊มออก และป้อนนมแม่จากถ้วยให้ลูกแทน 6. รับประทานยาแก้ปวด ตามความจำเป็นเช่น พาราเซทตามอล 7. ควรใส่เสื้อชั้นในเพื่อพยุงเต้านมไว้ 8. บีบเอาน้ำนมออกได้เรื่อย ๆ ถ้าจำเป็น เพื่อจะได้คลายความเจ็บปวดจนกว่าอาการเต้านมคัดจะดีขึ้น 9. หากอาการคัดเป็นรุนแรงมาก ควรปรึกษาคลินิกนมแม่ การป้องกันเต้านมคัด 1. ไม่ควรทิ้งระยะให้นมลูกนานเกินไป หากมีธุระไม่สามารถให้นมลูกได้ตามเวลา ควรบีบน้ำนมออกมาเก็บไว้เพื่อให้ลูกทานด้วยถ้วย 2. ให้ลูกดูดนมบ่อยๆ ดูดถูกวิธี และดูดจนเกลี้ยงเต้า ในกรณีที่คัดและปวดมากจนแตะไม่ได้ วิธีที่ช่วยได้คือ นำกะละมังใส่น้ำอุ่นจัดที่พอทนได้วางบนโต๊ะ แล้วก้มตัวลงโดยใช้ข้อศอกยันโต๊ะไว้ ให้เต้านมจุ่มลงในน้ำสักพักใหญ่ๆ แล้วกระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด)โดยโดยนวดเต้านมเบาๆ หรือใช้หลังนิ้วลูบเบาๆ จากนั้นจึงแช่เต้าในกะละมังอีกครั้งค่อยๆ ใช้มือบีบน้ำนมออกทีละน้อยเท่าที่จะทนเจ็บได้ (คุณแม่ในภาพมีรอยแดงรอบลานนมที่เต้าขวาเนื่องจากเต้านมอักเสบด้วย) ภาพที่ 1 แช่เต้าในกะละมังใส่น้ำที่อุ่นจัดพอทนได้ ภาพที่ 2 กระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด)โดยนวดเต้านมเบาๆ ภาพที่ 3 กระตุ้นการหลั่งน้ำนม(ทำจี๊ด) โดยใช้หลังนิ้วลูบเบาๆ ที่เต้านมจากรอบนอกมาทางลานนม ภาพที่ 4 แช่เต้าในกะละมังอีกครั้งค่อยๆ ใช้มือบีบน้ำนมออกทีละน้อยเท่าที่จะทนเจ็บได้
แชร์ให้เพื่อน

เต้านมคัด ปวดมาก จะทำอย่างไรดี

[seed_social]
[seed_social]
คุมกำเนิดแบบไหน ให้นมแม่ได้ เมื่อแม่เจ็บป่วย
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
16312
การคุมกำเนิดในช่วงที่ให้นมลูกอยู่นั้น คุณแม่จำเป็นต้องศึกษาข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธีอย่างเข้าใจ และเลือกใช้ให้เหมาะสม เพื่อให้ได้ผลตามต้องการค่ะ
แชร์ให้เพื่อน

คุมกำเนิดแบบไหน ให้นมแม่ได้

[seed_social]
[seed_social]
แม่เป็นไข้เลือดออก ให้นมแม่ได้หรือไม่ เมื่อแม่เจ็บป่วย
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
1855
แม่เป็นไข้เลือดออก ให้นมแม่ได้หรือไม่ ในปีนี้ที่ไข้เลือดออกระบาดมาก ถ้าแม่ที่ให้นมลูกเกิดเป็นไข้เลือดออกขึ้นมา จะยังให้นมแม่ต่อได้หรือไม่? คุณแม่อายุ 30 ปี ท่านหนึ่งมีลูกอายุ 3 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวมาตลอด เมื่อวานนี้แม่เริ่มมีไข้ตัวร้อน 39 องศา ไม่ไอ น้ำมูกไม่ไหล แม่ยังไม่อ่อนเพลียมาก ยังอุ้มลูกให้ดูดนมแม่ได้ แต่แม่สงสัยว่า แม่ไข้สูงแบบนี้ ยังจะให้ลูกกินนมแม่ได้หรือไม่ การตัดสินใจจะให้นมแม่ในกรณีนี้ต้องชั่งน้ำหนักระหว่าง ผลดีที่ลูกจะได้รับจากน้ำนมแม่ คือภูมิต้านทาน และเซลล์ต่างๆในน้ำนมแม่ กับความเสี่ยงที่อาจจะได้รับเชื้อที่ทำให้เกิดโรคผ่านน้ำนมแม่ แต่ต้องไม่ลืมว่า การติดเชื้อบางอย่างอาจจะผ่านทางการไอจามการหายใจหรือผิวหนังแม่ที่สัมผัสกับลูกก็ได้ ถ้ายังไม่รู้ว่าแม่เป็นอะไร มีแต่ไข้ลูงอย่างเดียว ขึ้นกับแม่ว่า ให้นมแม่ไหวหรือไม่ ถ้าอ่อนเพลียมากถึงกับอุ้มลูกกินนมไม่ไหว แม่ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุของไข้โดยเร็ว เพื่อจะได้ทราบว่า เป็นโรคอะไรติดต่อทางไหน จะได้รีบรักษา และหาทางป้องกันไม่ให้แพร่เชื้อไปให้ลูก ถ้าแม่ไม่อ่อนเพลียมากก็ยังให้ลูกกินนมแม่ได้ เพียงแต่ต้องระวังถ้าแม่มีอาการไอ จาม น้ำมูกไหล แม่ต้องหาผ้ามาปิดปากจมูกเพื่อไม่แพร่เชื้อให้ลูกจากน้ำลายน้ำมูก คุณแม่รายนี้ตัดสินใจยังให้นมแม่ต่อ เมื่อไข้สูงเป็นวันที่ 2 จึงไปพบแพทย์ ตรวจร่างกาย คอไม่แดง ไม่ไอ เจาะเลือดตรวจพบเป็นไข้เลือดออก ระยะไข้สูงแนะนำให้นอนโรงพยาบาล แม่จะทำอย่างไร จะเอาลูกที่กินนมแม่ไปนอนที่รพ ด้วย เพื่อดูดนมแม่ต่อ หรือจะแยกลูกอยู่บ้านดี? เรื่องที่จะต้องพิจารณาคือ 1. การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในแม่จะส่งต่อถึงลูกได้ทางไหนบ้าง การติดต่อของไวรัสไข้เลือดออก หรือเดงกี่ไวรัส มียุงเป็นพาหะของโรค นำเชื้อจากผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่น ยังไม่มีรายงานการติดต่อระหว่างคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่งโดยไม่ผ่านยุง และไม่มีหลักฐานว่ามีการติดต่อผ่านทางน้ำนมแม่ (Breastfeeding : A Guide for the Medical profession 7th editon p .428) จากการค้นข้อมูลเพิ่มเติมพบการรายงานพบไวรัสไข้เลือดออกในน้ำนมของแม่ที่เป็นไข้เลือดออกก่อนคลอดเพียง 1 รายงาน คนไข้ทารกคลอดก่อนกำหนด 1 ราย แม่มีไข้ 2 วันก่อนคลอด ระหว่างการคลอด และหลังคลอดตรวจพบว่าแม่เป็นไข้เลือดออก ทารกได้กินนมแม่ที่บีบออกมาตั้งแต่วันที่ 2 หลังคลอด แม่ไม่มีแผลที่หัวนมและเต้านม ตรวจพบ RT PCR สำหรับ denguevirus เป็นผลบวก แสดงว่ามีเชื้อไวรัส dengue ในน้ำนมแม่ จึงหยุดนมแม่ในวันที่ 4 หลังคลอด ในวันที่ 4 ทารกมีไข้ต่ำๆ 37.9 องศา C เจาะเลือดลูกพบ ผลบวกต่อ denguevirus มีเกร็ดเลือดต่ำเมื่ออายุ 9 วัน โดยไม่มีอาการใดๆผิดปกติ แม่และลูกได้กลับบ้านไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ (BreastMilk as a possible route of Vertical Transmission of Dengue Virus? Ann Barthel,et al Clin Infect Dis Apr 10 ,2013 online publication) 2. ในน้ำนมแม่จะมีสารภูมิต้านทานต่อไข้เลือดออกหรือไม่ พบ 1 รายงาน ว่ามี factorใน ส่วนไขมันของน้ำนมแม่ ว่ายับยั้ง ไวรัสไช้เลือดออกได้ แต่ไม่พบ antibody activity ต่อไวรัสไข้เลือดออกในน้ำนมแม่ ( A Lipidinhibitor of dengue virus in human colostrum and milk, with a note on theabsence of anti-dengue secretory antibody , Arch Virol 47:3-10 , 1975 ) 3.แม่จะไปอยู่โรงพยาบาล ที่เป็นเตียงรวมกับผู้ป่วยอื่นๆ หรือ อยู่เตียงในห้องแยกต่างหาก ถ้าแม่ต้องไปอยู่รวมกับคนป่วยอื่นๆ ลูกเล็กที่ไปนอนกับแม่อาจจะติดเชื้อจากผู้ป่วยอื่นๆได้หรือไม่ ถ้าแม่ไดอยู่ห้องเดี่ยวแยกต่างหาก ลูกก็ใม่เสี่ยงติดเชื้อจากคนอื่นๆ 4.อาการของแม่รุนแรงมากน้อยเพียงไร ไข้เลือดออกมีอาการที่แตกต่างกันตั้งแต่น้อยๆ ไปจนถึงอาการหนักมาก ถ้าแม่เป็นไม่รุนแรง และอยากจะให้นมแม่ ก็ให้ได้ คุณแม่ท่านนี้อยู่โรงพยาบาล ห้องเดี่ยว จึงให้ลูกมานอนดูดนมแม่ ที่ห้อง โดยแพทย์อนุญาต และโชคดีที่อาการเป็นไม่รุนแรง แม่จึงผ่านพ้นมาได้โดยที่ลูกยังได้กินนมแม่ตลอดและลูกไม่มีอาการไข้แต่อย่างใด สรุปว่า แม่ที่เป็นไข้เลือดออกในระยะหลังคลอด มีรายงาน 1 รายงานที่พบเชื้อไวรัสในน้ำนมแม่ในช่วงที่แม่ไข้สูงมีไวรัสในกระแสเลือด ลูกที่เป็นทารกคลอดก่อนกำหนดที่กินนมแม่รายนี้ตรวจเลือดพบไวรัส สำหรับแม่ที่คลอดลูกไปแล้วหลายๆเดือน และยังให้กินนมแม่อยู่เมื่อเป็นไข้เลือดออก ยังไม่มีรายงานการตรวจพบเชื้อในน้ำนม ในตำราBreastfeeding : A Guide for theMedical profession 7th editon p 428 สรุปว่า “ Breastfeeding during maternal orinfant dengue disease should continue as determined by the mother or infant’sseverity of illness เรื่องที่จะต้องพิจารณาคือ   1. การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในแม่จะส่งต่อถึงลูกได้ทางไหนบ้าง การติดต่อของไวรัสไข้เลือดออก มียุงเป็นพาหะของโรค นำเชื้อจากผู้ป่วยไปสู่ผู้อื่นยังไม่มีรายงานการติดต่อระหว่างคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่งโดยไม่ผ่านยุง และไม่มีหลักฐานว่ามีการติดต่อผ่านทางน้ำนมแม่ (Breastfeeding : A Guide for the Medical profession 7th edition p .428) จากการค้นข้อมูลเพิ่มเติมพบการรายงานพบไวรัสไข้เลือดออกในน้ำนมของแม่ที่เป็นไข้เลือดออกก่อนคลอดเพียง 1 รายงาน คนไข้ทารกคลอดก่อนกำหนด 1 ราย แม่มีไข้ 2 วันก่อนคลอด ระหว่างการคลอด และหลังคลอดตวจพบว่าแม่เป็นไข้เลือดออก ทารกได้กินนมแม่ที่บีบออกมาตั้งแต่วันที่ 2 หลังคลอด แม่ไม่มีแผลที่หัวนมและเต้านม ตรวจพบ RT PCR สำหรับ denguevirus เป็นผลบวก แสดงว่ามีเชื้อไวรัส dengue ในน้ำนมแม่ จึงหยุดนมแม่ในวันที่ 4หลังคลอด ในวันที่4ทารกมีไข้ต่ำๆ 37.9 องศา C เจาะเลือดลูกพบ ผลบวกต่อ denguevirus มีเกร็ดเลือดต่ำเมื่ออายุ 9 วัน โดยไม่มีอาการใดๆผิดปกติ แม่และลูกได้กลับบ้านไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ (Breast Milk as a possible route of Vertical Transmission of Dengue Virus? Ann Barthel,et al Clin Infect Dis Apr 10 ,2013 online publication)   2. ในน้ำนมแม่จะมีสารภูมิต้านทานต่อไข้เลือดออกหรือไม่ พบ 1รายงาน ว่ามี factorใน ส่วนไขมันของน้ำนมแม่ ว่ายับยั้ง ไวรัสไช้เลือดออกได้ แต่ไม่พบantibody activity ต่อไวรัสไข้เลือดออกในน้ำนมแม่ ( A Lipidinhibitor of dengue virus in human colostrum and milk, with a note on theabsence of anti-dengue secretory antibody , Arch Virol 47:3-10 , 1975 )   3.แม่จะไปอยู่โรงพยาบาล ที่เป็นเตียงรวมกับผู้ป่วยอื่นๆหรือ อยู่เตียงในห้องแยกต่างหาก ถ้าแม่ต้องไปอยู่รวมกับคนป่วยอื่นๆ ลูกเล็กที่ไปนอนกับแม่อาจจะติดเชื้อจากผู้ป่วยอื่นๆ ได้หรือไม่ ถ้าแม่ได้อยู่ห้องเดี่ยวแยกต่างหาก ลูกก็ใม่เสี่ยงติดเชื้อจากคนอื่นๆ   4.อาการของแม่รุนแรงมากน้อยเพียงไร ไข้เลือดออกมีอาการที่แตกต่างกันตั้งแต่น้อยๆ ไปจนถึงอาการหนักมาก ถ้าแม่เป็นไม่รุนแรง และอยากจะให้นมแม่ ก็ให้ได้ คุณแม่ท่านนี้อยู่โรงพยาบาล ห้องเดี่ยว จึงให้ลูกมานอนดูดนมแม่ ที่ห้อง โดยแพทย์อนุญาต และโชคดีที่อาการเป็นไม่รุนแรง แม่จึงผ่านพ้นมาได้โดยที่ลูกยังได้กินนมแม่ตลอดและลูกไม่มีอาการไข้แต่อย่างใด สรุปว่า แม่ที่เป็นไข้เลือดออกในระยะหลังคลอด มีรายงาน 1รายงานที่พบเชื้อไวรัสในน้ำนมแม่ในช่วงที่แม่ไข้สูงมีไวรัสในกระแสเลือด ลูกที่เป็นทารกคลอดก่อนกำหนดที่กินนมแม่รายนี้ตรวจเลือดพบไวรัส สำหรับแม่ที่คลอดลูกไปแล้วหลายๆเดือน และยังให้กินนมแม่อยู่เมื่อเป็นไข้เลือดออก ยังไม่มีรายงานการตรวจพบเชื้อในน้ำนม ในตำราBreastfeeding : A Guide for theMedical profession 7th editon p 428สรุปว่า   “ Breastfeeding during maternal orinfant dengue disease should continue as determined by the mother or infant’sseverity of illness. “ “การให้นมแม่ในแม่หรือทารกที่เป็นไข้เลือดออกควรดำเนินต่อไปโดยพิจารณาจากความรุนแรงของโรค”   โดย : พญ. ศิริพัฒนา ศิริธนารัตนกุล
แชร์ให้เพื่อน

แม่เป็นไข้เลือดออก ให้นมแม่ได้หรือไม่

[seed_social]
[seed_social]
วัณโรคกับการให้นมแม่ เมื่อแม่เจ็บป่วย
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
3492
ถ้าวัณโรคของแม่อยู่ในระยะกำเริบ มีเชื้อในเสมหะ ต้องแยกแม่ลูก แต่ให้ลูกกินน้ำนมแม่บีบให้คนอื่นป้อนได้ จะให้แม่ลูกได้อยู่ด้วยกันต่อเมื่อวัณโรคอยู่ในระยะสงบแล้ว
แชร์ให้เพื่อน

วัณโรคกับการให้นมแม่

[seed_social]
[seed_social]
"จี๊ด" - วิธีกระตุ้นให้น้ำนมไหลมาเทมา แม่ทำงาน
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
23604
ใครปั๊มนมไม่ออก: แอบบอกวิธีปั๊มนมให้เกลี้ยงเต้าจ้ะ
แชร์ให้เพื่อน

"จี๊ด" - วิธีกระตุ้นให้น้ำนมไหลมาเทมา

[seed_social]
[seed_social]
การเก็บน้ำนมในตู้เย็นตอนไฟดับ แม่ทำงาน
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
5489
เก็บน้ำนมในตู้เย็น 2 ประตู มีนมอยู่เยอะ ไฟฟ้าจะดับหลายชั่วโมง ทำอย่างไรดี
แชร์ให้เพื่อน

การเก็บน้ำนมในตู้เย็นตอนไฟดับ

[seed_social]
[seed_social]
วิธีขนย้ายนมแช่แข็งเพื่อเดินทางไกล แม่ทำงาน
โดย Admin
22 มิถุนายน 2017
2225
ช่วงเดินทางอาจดูว่าน้ำแข็งละลายไปบ้างหรือยัง ถ้าละลายมากก็ให้เทน้ำทิ้งแล้วเติมก้อนน้ำแข็งกะเกลืออีก
แชร์ให้เพื่อน

วิธีขนย้ายนมแช่แข็งเพื่อเดินทางไกล

[seed_social]
[seed_social]